Skip Navigation
The Endowment for Human Development
The Endowment for Human Development
Improving lifelong health one pregnancy at a time.
Donate Now Get Free Videos

Multilingual Illustrated DVD [Tutorial]

The Biology of Prenatal Development




ชีววิทยาของพัฒนาการก่อนการเกิด

.ไทย [Thai]


National Geographic Society This program is distributed in the U.S. and Canada by National Geographic and EHD. [learn more]

Choose Language:
Download English PDF  Download Spanish PDF  Download French PDF  What is PDF?
 

Chapter 1   Introduction

กระบวนการที่เกิดจาก เซลล์เดี่ยว ของมนุษย์ที่เรียกว่า ไซโกต ซึ่งได้กลายเป็น เซลล์จำนวน ร้อยล้านล้านเซลล์ในร่างกายมนุษย์ เป็นปรากฎการณ์ที่น่าทึ่ง ที่สุดในธรรมชาติ

ปัจจุบันผู้ค้นคว้าวิจัย ได้ค้นพบ กระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกายมนุษย์ และกลายเป็น ระยะเวลา การตั้งครรภ์ ที่ยาวนาน ก่อนการเกิด

ช่วงเวลาของพัฒนาการก่อนการเกิด ซึ่งเป็นที่เข้าใจถึง ระยะเวลา ในการเตรียมการ อันเป็นที่มาของการเจริญเติบโตของมนุษย์ ซึ่งมีโครงสร้างที่จำเป็นมากมาย รวมทั้งการฝึกฝนทักษะต่างๆ ซึ่งจำเป็น สำหรับการมีชีวิตอยู่รอดหลังการเกิด

Chapter 2   Terminology

การตั้งครรภ์ของมนุษย์ โดยปรกติ จะใช้เวลาประมาณ 38 สัปดาห์ โดยเริ่มนับตั้งแต่ การผสมพันธุ์ หรือการปฏิสนธิ ไปจนถึงการเกิด

ในระยะ 8 สัปดาห์แรกหลัง จากการปฏิสนธิ พัฒนาการของมนุษย์ ที่เรียกว่า ตัวอ่อน ซื่งหมายถึง การเจริญเติบโตภายในครรภ์ ช่วงเวลานี้เรียกว่า ระยะตัวอ่อน ซึ่งมีลักษณะพิเศษ โดยการสร้าง ระบบการทำงานที่สำคัญในร่างกาย

นับตั้งแต่ 8 สัปดาห์แรก จนกระทั่ง การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ พัฒนาการของมนุษย์ในระยะนี้ เรียกว่า ตัวอ่อนในครรภ์ ซึ่งหมายถึง การยังไม่เกิดของทารก ระยะนี้เรียกว่า ระยะตัวอ่อน ร่างกายเริ่มเติบโตขึ้น และระบบต่าง ๆ เริ่มทำงาน

อายุของตัวอ่อน ในระยะนี้ หมายถึง ตั้งแต่การปฏิสนธิ

The Embryonic Period (The First 8 Weeks)

Embryonic Development: The First 4 Weeks

Chapter 3   Fertilization

ในทางชีววิทยากล่าวว่า การเจริญเติบโตของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิ เมื่อผู้หญิง และผู้ชาย นำโครโมโซม ทั้ง 23 ตัว มารวมกัน โดยการรวมตัวของเซลล์ สืบพันธุ์ของแต่ละฝ่าย

เซลล์สืบพันธุ์ของเพศหญิง โดยทั่วไปเรียกว่า ไข่ but the correct term is oocyte. หรือ เซลล์เพศตัวเมียที่โตเต็มที่

ในทำนองเดียวกัน เซลล์ สืบพันธุ์เพศชาย ซึ่งเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ สเปิร์ม หากเรียกให้ถูก คือ อสุจิ

หลังจากการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ ของเพศหญิง ออกจากรังไข่ ในกระบวนการที่เรียกว่า การตกไข่ เมื่อไข่และตัวอสุจิผสมกัน ในท่อนำไข่ ซึ่งมักจะหมายถึง ปีกมดลูก

ท่อนำไข่เชื่อมต่อระหว่างรังไข่ของเพศหญิง กับมดลูก หรือ ครรภ์

ผลลัพธ์ของเซลล์เดี่ยวในตัวอ่อน เรียกว่า ไซโกต หมายถึง ไข่แดง หรือ การรวมกัน ของเซลล์สองเซลล์

Chapter 4   DNA, Cell Division, and Early Pregnancy Factor (EPF)

ไซโกท ประกอบด้วย 46 โครโมโซม ซึ่งแสดงลักษณะเด่นแรก ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตใหม่ ที่สมบูรณ์ ลักษณะเด่นที่สำคัญนี้ อยู่ใน โมเลกุลที่เรียกว่า ดีเอ็นเอ หรือสารพันธุกรรม สารพันธุกรรม ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ สำหรับการเจริญเติบโต ของร่างกายทั้งหมด

โมเลกุล ของสารพันธุกรรม มีลักษณะคล้าย บันไดเกลียว ซึ่งเป็นที่รู้จักกัน ว่า เกลียวคู่ ขั้นของบันได เกิดจาก โมเลกุลคู่ หรือเบส ที่เรียกว่า กัวนิน ไซโตซิน อะดีนิน และ ทีมมิน

กัวนิน จะจับคู่กับไซโตซินเท่านั้น อะดีนินคู่กับทีมมิน ในมนุษย์แต่ละคน มีเซลล์ อยู่ประมาณ 3 พันล้านเซลล์ ของเซลล์คู่เบส

สารพันธุกรรม ของเซลล์เดี่ยว ประกอบด้วย ข้อมูลมากมาย หากจะนำเสนอออกมาในรูปของเอกสาร เพียงแค่ทำรายการตามลำดับ อักษรตัวแรกของแต่ละเบส คงต้องใช้กระดาษทั้งหมด มากกว่า 1.5 ล้านหน้า

หากวางในแนวนอน สารพันธุกรรม ในเซลล์เดี่ยว ของมนุษย์ มีขนาด 3 ฟุต 1/3 หรือ 1 เมตร

หากเราลองคลายขดของสารพันธุกรรม ใน 100 ล้านล้าน เซลล์ของผู้ใหญ่ อาจวัดความยาวได้มากกว่า 63 พันล้านไมล์ ซึ่งเป็นระยะทางไป-กลับ ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ 340 เที่ยว

ประมาณ 24 ถึง 30 ชั่วโมง หลังจากการปฏิสนธิ ไซโกต สามารถแบ่งเซลล์แรก ในตัวของมันได้เสร็จสมบูรณ์ โดยผ่านกระบวนการการแบ่ง นิวเคลียสของเซลล์ หรือไมโทซิส จาก 1 เซลล์เป็น 2 เซลล์ จาก 2 เซลล์ เป็น 4 เซลล์ และทวีคูณไปเรื่อย ๆ

แรกเริ่ม จาก 24 ชั่วโมงถึง 48 ชั่วโมง หลังจากการปฏิสนธิได้เริ่มขึ้น เราสามารถยืนยันการตั้งครรภ์ได้ จากการตรวจฮอร์โมน หรือเรียกว่า ปัจจัยเบื้องต้นของการตั้งครรภ์ ซึ่งอยู่ในเลือดของมารดา

Chapter 5   Early Stages (Morula and Blastocyst) and Stem Cells

ระยะเวลา 3 ถึง 4 วัน หลังจากการปฏิสนธิ การแบ่งเซลล์ของตัวอ่อน จะออกมาเป็นรูปทรงกลม เราเรียกตัวอ่อนว่า โมรูลา

ประมาณ 4 ถึง 5 วัน โพรงที่อยู่ใน ลูกกลม ๆของเซลล์ ต่อมา ตัวอ่อนจึงถูกเรียกว่า บลาสโตซิส

เซลล์ที่อยู่ในบลาสโตซิส เรียกว่า เซลล์มวลภายใน และก่อให้เกิด ศีรษะ ร่างกาย และโครงสร้างอื่น ๆ สำหรับชีวิต เพื่อการเจริญ เติบโตของมนุษย์

เซลล์ภายใน เซลล์มวลภายใน ถูกเรียกว่า สตีมเซลล์ของตัวอ่อน เพราะเซลล์เหล่านี้ สามารถ สร้างเซลล์ชนิดต่าง ๆ ได้มากกว่า 200 เซลล์ ขี้นในร่างกายมนุษย์

Chapter 6   1 to 1½ Weeks: Implantation and Human Chorionic Gonadotropin (hCG)

หลังจากเดินทางผ่านท่อนำไข่ ตัวอ่อนที่ปฏิสนธิแล้ว จะฝังตัว ที่ผนังมดลูกของมารดา กระบวนการนี้เรียกว่า การฝังตัวของไข่ ซึ่ง เริ่มต้นภายใน 6 วัน และสิ้นสุดในช่วง 10 ถึง 12 วัน หลังจากการผสมพันธุ์

เซลล์จากตัวอ่อนที่โตขึ้น เริ่มผลิตฮอร์โมน ที่เรียกว่า กานาโดโทรปิน หรือ เอชซีจี ซึ่งเป็นสารที่ถูกตรวจพบ โดยการทดสอบการตั้งครรภ์

เอชซีจี เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนของมารดา เพื่อหยุดรอบเดือนปกติ มีผลให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป

Chapter 7   The Placenta and Umbilical Cord

ต่อมา การฝังตัวของตัวอ่อน เซลล์ที่อยู่ที่ผิวรอบนอกของ บลาสโตซิส สร้างส่วนหนึ่งของอวัยวะที่เรียกว่า รก ซึ่งใช้เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างมารดา และระบบไหลเวียนของตัวอ่อน

รก จะทำหน้าที่ส่งก๊าซจากแม่ สารอาหาร ฮอร์โมน และยา เพื่อการเจริญเติบโต ขับถ่ายของเสีย และป้องกันการผสมระหว่าง เลือดของมารดากับเลือด ของตัวอ่อน

นอกจากนี้ รก ยังช่วยสร้างฮอร์โมน รักษาตัวอ่อน และควบคุม อุณหภูมิในร่างกายของตัวอ่อน ให้อยู่เหนืออูณหภูมิของมารดาเล็กน้อย

รก จะติดต่อกับการเติบโตของมนุษย์ โดยผ่านสายสะดือ

ประสิทธิภาพในการทำหน้าที่ เพื่อการมีชีวิตอยู่ของรก สามารถพบได้ในโรงพยาบาลสมัยใหม่

Chapter 8   Nutrition and Protection

ประมาณ 1 สัปดาห์ เซลล์มวลภายใน สร้างเนื้อเยื่อ 2 ชนิด ที่เรียกว่า ไฮโปบลาส และ เอพิบลาส

ไฮโปบลาส จะสร้าง ถุงไข่แดง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ในการ ส่งสารอาหารต่าง ๆ จากมารดา ไปสู่ตัวอ่อนในระยะต้น

เซลล์จาก เอพิบาส จะสร้าง เนื่อเยื่อ ที่เรียกว่า ถุงน้ำคร่ำ ซึ่งมีตัวอ่อนอยู่ข้างใน ซึ่งต่อมา คือทารกในครรภ์ เจริญเติบโตไปจนกระทั่งการคลอด

Chapter 9   2 to 4 Weeks: Germ Layers and Organ Formation

ประมาณ 2 สัปดาห์ 1/2 เอพิบลาส จะสร้าง เนื้อเยื่อพิเศษขึ้น 3 ชนิด หรือเนื้อเยื่อ ซึ่งเรียกว่า เอ็คโตเดิม เอ็นโตเดิม เมโซเดิม

เอ็นโตเดิม ช่วยสร้าง อวัยวะต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งสมอง ไขกระดูกสันหลัง เส้นประสาท ผิวหนัง เล็บ ขน หรือ เส้นผม

เอ็นโดเดิม สร้างเยื่อกรอง สำหรับระบบหายใจ และสารย่อยอาหาร ก่อให้เกิดการแบ่งอวัยวะ สำคัญ ๆ ของร่างกาย เช่นตับ และตับอ่อน

เมโซเดิม สร้างหัวใจ ไต กระดูก กระดูกอ่อน กล้ามเนื้อ เซลล์เม็ดเลือด และอวัยวะอื่น ๆ

ประมาณ 3 สัปดาห์ สมองจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง

พัฒนาการของระบบหายใจ และระบบย่อยอาหาร ก็เช่นกัน

เมื่อเซลล์เม็ดเลือด เซลล์แรก ปรกกฎในถุงไข่แดง หลอดเลือด ผ่านไปยังตัวอ่อน หลอดเลือดสำหรับหล่อเลี้ยง หัวใจจะปรากฏขึ้น

และโดยทันที การเติบโตของหัวใจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และพับตัวขึ้น แบ่งเป็นห้องต่าง ๆ เริ่มพัฒนาต่อไป

หัวใจเริ่มเต้น 3 สัปดาห์ และ 1 วัน หลังจากการปฏิสนธิ

ระบบหมุนเวียน คือ ระบบแรกของร่างกาย หรือกลุ่มความสัมพันธ์ของอวัยวะ เพื่อการทำงานของอวัยวะ ได้อย่างสัมฤทธิ์ผล

Chapter 10   3 to 4 Weeks: The Folding of the Embryo

ระหว่าง สัปดาห์ที่ 3 และ 4 จะปรากฎรูปร่าง คล้ายสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง หัวใจของตัวอ่อน ซึ่งสามารถบ่งชี้ได้อย่างไม่ยากนัก อยู่ด้านข้างของถุงไข่แดง

การเติบโตที่รวดเร็ว ก่อให้เกิด การพับตัว ของตัวอ่อน ซึ่งมีลักษณะค่อนข้างแบน กระบวนการนี้ เป็นส่วนหนึ่งของถุงไข่แดง กลายเป็นโครงสร้าง ของระบบย่อยอาหาร และสร้างหน้าอก และช่องท้อง เพื่อการเจริญเติบโตของมนุษย์

Embryonic Development: 4 to 6 Weeks

Chapter 11   4 Weeks: Amniotic Fluid

ประมาณ 4 สัปดาห์ น้ำคร่ำที่อยู่รอบตัวอ่อน ที่อยู่ในถุงของเหลว ของเหลวที่ปราศจากเชื้อโรคนี้ เรียกว่า น้ำคร่ำ ทำหน้าที่ปกป้องทารก จากการกระทบกระเทือน

Chapter 12   The Heart in Action

หัวใจเต้นอย่างสม่ำเสมอ ประมาณ 113 ครั้งต่อนาที

ลองสังเกตุว่า หัวใจเปลี่ยนสีได้อย่างไร เมื่อเลือดไหลเวียนเข้าและออก จากห้องหัวใจ ในแต่ละครั้งที่หัวใจเต้น

หัวใจจะเต้นโดยประมาณ 54 ล้านครั้งก่อนการเกิด และมากกว่า 3.2 พันล้านครั้ง ซึ่งมากกว่า ช่วงระยะเวลา 80 ปีของช่วงชีวิต

Chapter 13   Brain Growth

การเติบโตที่รวดเร็วของสมอง สังเกตุได้จากการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ของสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และสมองส่วนหลัง

Chapter 14   Limb Buds

การเติบโตของร่างกาย ส่วนบนและส่วนล่างเริ่มขึ้น โดยการแตกหน่อ ประมาณ 4 สัปดาห์

ในช่วงนี้ ผิวหนังจะโปร่งใส เพราะเป็นเพียงเซลล์หนา ๆ

เมื่อผิวหนังหนาขึ้น ความโปร่งใสก็จะหายไป ซึ่งนั่นหมายถึง เราสามารถ ดูอวัยวะภายใน ที่เติบโตขึ้นเพียงอีกไม่กี่เดือน


Add a Comment

Your Name: Log In 3rd-party login: Facebook     Google     Yahoo

Comment: